ยินดีต้อนรับค่ะ

Blog นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแหล่งข้อมูลพื้นฐานที่คัดสรรมาสำหรับผู้ต้องการศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย และพัฒนาการเด็กปฐมวัย

...อยากเห็นเด็กๆ มีความสุขในการเรียนรู้ ผู้ใหญ่ต้องเข้าใจและมีความสุขในการเรียนรู้ไปด้วยกันกับเขานะคะ...

วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567

ผลงานนักศึกษา นำเสนอ BLOG การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

ผลงานนักศึกษา:  BLOG การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย


การประเมินพัฒนาการของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

1. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย

2. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ

3. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านสังคม

4. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา



การประเมินพัฒนาการของเด็กอายุ 3-6 ปี

1. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย 

2. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ

3. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านสังคม

4. BLOG การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา

วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

BOOK: พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัยฯ และจำแนกตามกลุ่มอายุ

พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง

จำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัยตามระดับควอไทล์ (Quartile)

และจำแนกตามกลุ่มอายุของเด็ก 3 - 5 ปี

LINK LOAD:   http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1580-file.pdf

LINK สำรอง: https://drive.google.com/file/d/1onnnNsXN26d9vatHIEnfmgTQtLfOrV0Q/view?usp=sharing


วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ตัวอย่างงานวิจัยและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ตัวอย่างงานวิจัยที่สืบค้นและศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
(ข้อมูลจาก facebook กลุ่มเอกสาร ใบงาน (ปฐมวัย มรภ.สุรินทร์) ภาคเรียนที่ 1/2555) 

- สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ได้พัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลใหม่ ดังนั้น บาง Link ยังใช้ไม่ได้  - หรือ อาจยกเลิกไปแล้ว 
คำแนะนำ :  ใช้วิธี search โดยนำข้อมูลชื่อผู้เขียน ปี พ.ศ.ที่เผยแพร่งานวิจัย / หรือ ชื่องานวิจัย 
สืบค้นจากเว็บสำนักหอสมุด มศว. ที่ :  http://lib.swu.ac.th/th/


ตัวอย่างงานวิจัยที่สืบค้นเพื่อศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

1) การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย (สุขภาวะ ภาวะสุขภาพ สุขภาพอนามัย สุขนิสัย)  

ชื่อเรื่อง การศึกษารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย เสกสรร มาตวังแสง
สถาบัน    มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สาขาวิชาวิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้
ปีการศึกษา    2559


ชื่อเรื่อง        การเจริญเติบโต พัฒนาการ และภาวะสุขภาพของเด็กและความพึงพอใจของต่อบริการของโครงการศูนย์ศึกษาเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัย          อาภาวรรณ หนูคง
สถาบัน        มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปีการศึกษา  2535
แหล่งข้อมูล:  จาก ThaiLis
http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=84605&query=อาภาวรรณ หนูคง&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2555-07-02&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=46

แหล่งข้อมูล:  จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
URI: http://search.lib.cmu.ac.th/search/?searchtype=.&searcharg=b1132359
http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/29529
ชื่องานวิจัย    สถานการณ์และปัจจัยทางประชากรที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2546
ผู้วิจัย     นางจินตนา พัฒนพงศ์ธร และนางสาวปิยะวรรณ กลิ่นสุคนธ์
หน่วยงาน              สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย สิงหาคม 2547
(หมายเหตุ เข้าไปดูที่เว็บของกรมอนามัย น่าจะมีงานวิจัยฉบับอื่นๆ อีกหลายเล่ม)
แหล่งที่มา:   -

ชื่องานวิจัย    รายงานสุขภาพคนไทย  จากเว็บ สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ


2) การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย (กล้ามเนื้อใหญ่)

ชื่องานวิจัย ผลของการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบการเล่าเรื่องที่มีต่อพัฒนาการกล้ามเนื้อใหญ่ของเด็กวัยเตาะแตะ
ผู้วิจัย อุไรวรรณ โชติชุษณะ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2547

ชื่องานวิจัย การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์
ผู้วิจัย ละไม สีหาอาจ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา  2551


3) การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย (กล้ามเนื้อเล็ก)

ชื่องานวิจัย ผลของการจัดกิจกรรมประสาทสัมผัสที่มีต่อความสามารถใน
การใช้กล้ามเนื้อเล็กเด็กวัยเตาะแตะ
ผู้วิจัย จุฬาลักษณ์ สุตระ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2550

ชื่องานวิจัย  การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมการปั้นดิน
ผู้วิจัย คำวัง สมสุวรรณ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2551


4) การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ : ลักษณะของอารมณ์  คุณธรรม จริยธรรม (ต่อตนเองและผู้อื่น)

ชื่องานวิจัย ลักษณะพื้นฐานอารมณ์ของเด็กวัยก่อนเรียนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองแม่สอด
ผู้วิจัย พนิดา กาวินำ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา
แหล่งที่มา: จาก ThaiLis http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=77787&query=พนิดา กาวินำ&s_mode=any&d_field=&d_start=0000-00-00&d_end=2555-07-02&limit_lang=&limited_lang_code=&order=&order_by=&order_type=&result_id=1&maxid=45
ภาคผนวก  มีรายละเอียดของแบบวัดพื้นอารมณ์

แหล่งข้อมูล:  จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
URI: http://search.lib.cmu.ac.th/search/?searchtype=.&searcharg=b1311239
http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/30137
ชื่องานวิจัย การพัฒนาความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมประกอบเพลงคุณธรรมตามพระราชดำรัส
ผู้วิจัย  กมลจันทร์ ชื่นฤทธิ์
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา  2550


5) การประเมินพัฒนาการด้านสังคม : การเรียนรู้ทางสังคม(กระบวนการถ่ายทอดทางสังคม
การอบรมเลี้ยงดู) ทักษะสังคม การปรับตัว ความเข้าใจตนเอง การอยู่ร่วมกับผู้อื่น

ชื่องานวิจัย ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบจิตปัญญาที่มีต่อพัฒนาการทางสังคมของเด็กปฐมวัย (ยอมรับ ช่วยเหลือ แบ่งปัน พฤติกรรมความร่วมมือ)
ผู้วิจัย สังเวียน พึ่งแสง
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา  2552

ชื่องานวิจัย ผลการจัดกิจกรรมการเพาะปลูกพืชที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย (ความสามารถในการแก้ปัญหา: 1) ปัญหาของตนเองโดยไม่เกี่ยวกับผู้อื่น 2) ปัญหาของตนเองที่เกี่ยวข้องกับผู้อื่น 3) ปัญหาของผู้อื่นที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็ก 4) ปัญหาของผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับตัว)
ผู้วิจัย สุจิตรา เคียงรัมย์
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา  2551

ชื่องานวิจัย ผลการให้ประสบการณ์ส่งเสริมความสามารถทางภาษาที่มีต่อทักษะทางสังคมและความสามารถทางภาษาของนักเรียนอนุบาล
ผู้วิจัย ทวีศักดิ์ ยูซุบ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2546


6) การประเมินพัฒนาการด้านสังคม : การเล่น

ชื่องานวิจัย การสังเกตพฤติกรรมการเล่นเครื่องเล่นสนามของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลหัวไผ่ จังหวัดสิงห์บุรี
ผู้วิจัย มาลัย พึ่งอยู่สุข
สถาบัน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปีการศึกษา 2552
แหล่งที่มา:

ชื่องานวิจัย ความสามารถด้านการสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยที่มีพฤติกรรมการเล่นมุมบล็อกแตกต่างกัน : กรณีศึกษาโรงเรียนอนุบาลร่มไม้ จังหวัดชลบุรี
ผู้วิจัย วิจิตรา ครองยุทธ
สถาบัน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปีการศึกษา 2547


7) การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา : ทักษะการคิด และการคิดแบบต่างๆ

ชื่องานวิจัย ทักษะในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่นเกมการศึกษาประกอบภาพ
ผู้วิจัย ปรียวาท น้อยคล้าย
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2553

ชื่องานวิจัย การพัฒนาทักษะการคิดของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมฝึกคิดตามแนวคิดของเดอโบโน
ผู้วิจัย รัชดา ชื่นจิตอภิรมย์
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา  2550


8) การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา : ความคิดสร้างสรรค์

ชื่องานวิจัย  ผลการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติจริงที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย สุชาดา นทีตานนท์
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2550

ชื่องานวิจัย ผลการจัดโปรแกรมกิจกรรมนันทนาการที่มีต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย อารี ตีรณปัญญา
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2552


9) การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา :  ทักษะ / ความสามารถทางภาษา

ชื่องานวิจัย พัฒนาการทางการพูดของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมโดยการเล่นเกมทางภาษา
ผู้วิจัย  สมาพร สามเตี้ย
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2545

ชื่องานวิจัย ทักษะการเขียนของเด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์การวาดภาพประกอบการพิมพ์ภาพ (งานวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนมีไม่มากนัก – น่าสนใจดี)
ผู้วิจัย พรพรรณ รำไพรุจิพงศ์
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา  2550


10) การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา : ทักษะพื้นฐานความสามารถด้านคณิตศาสตร์

ชื่องานวิจัย การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (การจำแนกประเภท การเปรียบเทียบ การรู้ค่าจำนวน 1 – 10 การเพิ่ม – ลดภายในจำนวน 1 – 10)
ผู้วิจัย ศิริลักษณ์ วุฒิสรรพ์
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2551

ชื่องานวิจัย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม ประกอบอาหารประเภทขนมไทย  (การจำแนกเปรียบเทียบ การเรียงลำดับ การจัดหมวดหมู่ การวัด )
ผู้วิจัย ชมพูนุท จัทรางกูร
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2549

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ ด้วยกิจกรรมเกมการศึกษาประกอบการประเมินสภาพจริง  (การจำแนกเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การเรียงลำดับ การรู้ค่าจำนวน )
2544  วัลนา  ธรจักร  http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Wanlana_T.pdf


11) การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา : ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่องานวิจัย ผลของการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนที่มีต่อทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การลงความเห็น การพยากรณ์)
ผู้วิจัย ศศิธร รณะบุตร
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2551

ชื่องานวิจัย การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ผู้วิจัย เอราวรรณ ศรีจักร
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2550


12) การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา : พหุปัญญา

ชื่องานวิจัย การศึกษาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทำหนังสือเล่มใหญ่
ผู้วิจัย ชมพูนุท ศุภผลศิริ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2551

ชื่องานวิจัย การศึกษาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการละครตามรูปแบบพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้ (9 ด้าน) ได้แก่
1. ความสามารถทางด้านภาษา
2. ความสามารถทางด้านตรรกะ และ คณิตศาสตร์
3. ความสามารถทางด้านมิติ
4. ความสามารถทางด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
5. ความสามารถทางด้านดนตรี
6. ความสามารถทางด้านความเข้าใจระหว่างบุคคล
7. ความสามารถทางด้านความเข้าใจตนเอง
8. ความสามารถทางด้านธรรมชาติ
9. ความสามารถทางด้านอัตถภวนิยม จิตนิยม หรือ การดำรงคงอยู่ของชีวิต )
ผู้วิจัย รัตนาภรณ์ ภูธรเลิศ
สถาบัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีการศึกษา 2551

วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ตัวอย่างรายงาน และ ใบสรุปความรู้ เรื่อง "การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย"


เอกสาร : พัฒนาการ และคุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัย

หนังสือ  “สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3-5 ปี : แนวแนะสำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง” 
Link : http://www.4shared.com/document/ScPnfSI8/3-5_3-5.html

หรือ  Download ได้ที่  :
http://www.onec.go.th/index.php/book/BookView/424

http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/424-file.pdf


สมรรถนะด้านต่างๆ ของเด็กปฐมวัยมี 7 ส่วนหลัก (Domain) ได้แก่ 

1. การเคลื่อนไหว และสุขภาวะทางกาย (Motor Development /Physical Well – Being)

2. พัฒนาการด้านสังคม (Social Development)

3. พัฒนาการด้านอารมณ์ (Emotional Development)

4. พัฒนาการด้านการคิดและสติปัญญา (Cognitive Development)

5. พัฒนาการด้านภาษา (Language Development)

6. พัฒนาการด้านจริยธรรม (Moral Development

7. พัฒนาการด้านการสร้างสรรค์ (Creative Development)

ในละส่วนหลักประกอบด้วย ส่วนย่อย (Sub-domain) สมรรถนะด้านต่างๆ (Competency) และพฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) โดยจำแนกออกเป็นเนื้อหา (area) ด้านต่างๆ



ใบความรู้ เรื่อง "การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน" 
การประเมินสุขภาพอนามัย และ การประเมินสุขนิสัย



ใบความรู้ เรื่อง "การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านอารมณ์ จิตใจ วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน"




ใบความรู้ เรื่อง "การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสังคม วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน"



ใบความรู้ เรื่อง "การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านสติปัญญา วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน"



- ทักษะทางภาษา   (รายงาน  และ ใบความรู้)

- ทักษะพื้นฐานความสามารถด้านคณิตศาสตร์ (ตัวอย่างรายงาน 1  และ  ตัวอย่างรายงาน 2)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
                 

รวมเว็บ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย


เว็บของคุณครู อาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษาปฐมวัย




2. Blog ของผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนา ปุญญฤทธิ์  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร :

การประเมินตามสภาพจริงในระดับการศึกษาปฐมวัย


ที่อยู่ Blog ค่ะ http://www.poonyarit.com/









องค์การมหาชน
สมศ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ดาวน์โหลด เอกสารการประเมินคุณภาพ (ระดับการศึกษาปฐมวัย)
http://www.onesqa.or.th/th/contentdownload/944/?inputFilter=&TextSearch=%E0%B8%9B%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2&Category=&gotoPage=1&PageSize=10




กระทรวงสาธารณสุข
(ศึกษาตัวอย่างการใช้แบบทดสอบมาตรฐาน)

http://www.thaichilddevelopment.com/

ปัจจุบันใช้
อนามัย 55 ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เฝ้าระวัง)
(อนามัย 49 ฉบับปรับปรุง) 
บรรณาธิการ ศาสตราจารย์แพทย์หญิงศิริกุล อิศรานุรักษ์
นางสาวสุขจริง ว่องเดชากูล
จัดพิมพ์โดย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2555
Download ได้ที่ : http://hp.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=318


แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55)
ปรับปรุงครั้งที่ 1
บรรณาธิการ   ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงศิริกุล อิศรานุรักษ์
                     นางประภาภรณ์ จังพานิช
จัดพิมพ์โดย   สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
พิมพ์ครั้งที่ 1  มีนาคม 2556
http://hpc7.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/hpc7/ewt_dl_link.php?nid=1813
จาก "คำนำ"
     ปี พ.ศ.2549 กรมอนามัยได้พัฒนาแบบประเมินพัฒนาการเบื้องต้นของเด็กปฐมวัย สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรียกว่า อนามัย 49 ซึ่งได้ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ต่อมาปี พ.ศ.2555 กรมอนามัยเห็นควรพัฒนาและปรับปรุงอนามัย 49 เดิม ให้มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน เรียกชื่อว่า อนามัย 55 (อนามัย 49 ฉบับปรับปรุง) โดยความร่วมมือจากอาจารย์มหาวิทยาลัยสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีและศูนย์อนามัย ในปี พ.ศ.2556 อนามัย 55 มีการเพิ่มช่วงอายุการทดสอบ เพื่อให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอายุและปรับเปลี่ยนชื่อเป็น แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55)

...................
  ข้อมูล เดิม
...................

กรมอนามัย
การวัดพัฒนาการเด็กด้วยแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก (อนามัย 49)
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/mch/anamai49.php



       ...."อนามัย 49" เป็นแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ที่สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัยจัดทำขึ้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย เพื่อเป็นการคัดกรองเบื้องต้นสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พ่อแม่ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นให้เป็นแบบประเมินพัฒนาการที่ใช้ง่าย สะดวก และศึกษาแนวทางในการทดสอบด้วยตนเองได้ โดยแบ่งเป็น 15 ช่วงอายุ ตั้งแต่ แรกเกิด จนถึง 72 เดือน หัวข้อในการประเมิน (Items) ที่ใช้ในการทดสอบ ประกอบด้วย 4 ด้านหลัก รวมทั้งหมด 48 Items ได้แก่
  1. ด้านสังคม (Social ) ประกอบด้วย 9 Items ( คิดเป็นร้อยละ 19 ของ Items ทั้งหมด ) เริ่มจากจ้องหน้า การยิ้ม การแสดงอารมณ์ การเล่น การแสดงความต้องการ รวมไปถึงการเล่น การรู้จักปฏิเสธ และการรอคอย
  2. ด้านภาษา (Language ) ประกอบด้วย 23 Items ( คิดเป็นร้อยละ 48 ของ Items ทั้งหมด ) โดยเริ่มจาก Body Language ที่ตอบสนองต่อการได้ยิน การพูดเป็นคำๆที่ไม่มีความหมาย จนสามารถพูดได้หลายพยางค์และมีความหมายมากขึ้น และพัฒนาที่จะรู้ถึงรูปประโยค ประธาน (subject) กริยา (Verb) คำคุณศัพท์ (adjective) คำบุรพบท (Preposition) ทราบความหมายของ สี จำนวนนับ ของคำต่างๆ รวมถึงประโยชน์ของสิ่งของต่างๆ และการเปรียบเทียบ เป็นต้น
  3. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motors) ประกอบด้วย 10 items( คิดเป็น ร้อยละ 21 ของ Items ทั้งหมด ) กล้ามเนื้อมัดเล็กที่ใช้เมื่อแรกคลอดใหม่ๆ คือ กล้ามเนื้อตา ต่อมาคือฝ่ามือและใช้นิ้วช่วยในการหยิบของเล็กๆ
  4. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross Motors) ประกอบด้วย 6 items ( คิดเป็นร้อยละ 13 ของ Items ทั้งหมด โดยเริ่มพัฒนาจากกล้ามเนื้อคอ การพลิกคว่ำพลิกหงาย นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด และสามารถยืนขาเดียวได้นานขึ้นๆ เมื่อจำนวนเดือนมากขึ้น เนื่องจากผลการสำรวจของเด็กไทย พบว่า เด็กไทยไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่อง Gross Motors แต่มีปัญหาในเรื่องภาษา จึงลดจำนวน Items ของ Gross Motors ลง เพื่อไม่ให้แบบประเมินมีจำนวน items มากเกินไป 
กรมสุขภาพจิต

เว็บใหม่ล่าสุด ของสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
แวะไปเยี่ยมชมกันได้ ที่นี่ค่ะ...
http://www.thaichilddevelopment.com/









เด็กพิเศษ
สถาบันราชานุกูล


คลังความรู้สถาบันราชานุกูล : ข้อมูลวิชาการ
http://www.rajanukul.com/main/index.php?mode=academic&submode=academic&group=1