ยินดีต้อนรับค่ะ

Blog นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแหล่งข้อมูลพื้นฐานที่คัดสรรมาสำหรับผู้ต้องการศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย และพัฒนาการเด็กปฐมวัย

...อยากเห็นเด็กๆ มีความสุขในการเรียนรู้ ผู้ใหญ่ต้องเข้าใจและมีความสุขในการเรียนรู้ไปด้วยกันกับเขานะคะ...

วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

รวมเว็บ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย


เว็บของคุณครู อาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษาปฐมวัย




2. Blog ของผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนา ปุญญฤทธิ์  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร :

การประเมินตามสภาพจริงในระดับการศึกษาปฐมวัย


ที่อยู่ Blog ค่ะ http://www.poonyarit.com/









องค์การมหาชน
สมศ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ดาวน์โหลด เอกสารการประเมินคุณภาพ (ระดับการศึกษาปฐมวัย)
http://www.onesqa.or.th/th/contentdownload/944/?inputFilter=&TextSearch=%E0%B8%9B%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2&Category=&gotoPage=1&PageSize=10




กระทรวงสาธารณสุข
(ศึกษาตัวอย่างการใช้แบบทดสอบมาตรฐาน)

http://www.thaichilddevelopment.com/

ปัจจุบันใช้
อนามัย 55 ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เฝ้าระวัง)
(อนามัย 49 ฉบับปรับปรุง) 
บรรณาธิการ ศาสตราจารย์แพทย์หญิงศิริกุล อิศรานุรักษ์
นางสาวสุขจริง ว่องเดชากูล
จัดพิมพ์โดย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2555
Download ได้ที่ : http://hp.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=318


แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55)
ปรับปรุงครั้งที่ 1
บรรณาธิการ   ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงศิริกุล อิศรานุรักษ์
                     นางประภาภรณ์ จังพานิช
จัดพิมพ์โดย   สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
พิมพ์ครั้งที่ 1  มีนาคม 2556
http://hpc7.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/hpc7/ewt_dl_link.php?nid=1813
จาก "คำนำ"
     ปี พ.ศ.2549 กรมอนามัยได้พัฒนาแบบประเมินพัฒนาการเบื้องต้นของเด็กปฐมวัย สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรียกว่า อนามัย 49 ซึ่งได้ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ต่อมาปี พ.ศ.2555 กรมอนามัยเห็นควรพัฒนาและปรับปรุงอนามัย 49 เดิม ให้มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน เรียกชื่อว่า อนามัย 55 (อนามัย 49 ฉบับปรับปรุง) โดยความร่วมมือจากอาจารย์มหาวิทยาลัยสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีและศูนย์อนามัย ในปี พ.ศ.2556 อนามัย 55 มีการเพิ่มช่วงอายุการทดสอบ เพื่อให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอายุและปรับเปลี่ยนชื่อเป็น แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55)

...................
  ข้อมูล เดิม
...................

กรมอนามัย
การวัดพัฒนาการเด็กด้วยแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก (อนามัย 49)
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/mch/anamai49.php



       ...."อนามัย 49" เป็นแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ที่สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัยจัดทำขึ้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย เพื่อเป็นการคัดกรองเบื้องต้นสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พ่อแม่ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นให้เป็นแบบประเมินพัฒนาการที่ใช้ง่าย สะดวก และศึกษาแนวทางในการทดสอบด้วยตนเองได้ โดยแบ่งเป็น 15 ช่วงอายุ ตั้งแต่ แรกเกิด จนถึง 72 เดือน หัวข้อในการประเมิน (Items) ที่ใช้ในการทดสอบ ประกอบด้วย 4 ด้านหลัก รวมทั้งหมด 48 Items ได้แก่
  1. ด้านสังคม (Social ) ประกอบด้วย 9 Items ( คิดเป็นร้อยละ 19 ของ Items ทั้งหมด ) เริ่มจากจ้องหน้า การยิ้ม การแสดงอารมณ์ การเล่น การแสดงความต้องการ รวมไปถึงการเล่น การรู้จักปฏิเสธ และการรอคอย
  2. ด้านภาษา (Language ) ประกอบด้วย 23 Items ( คิดเป็นร้อยละ 48 ของ Items ทั้งหมด ) โดยเริ่มจาก Body Language ที่ตอบสนองต่อการได้ยิน การพูดเป็นคำๆที่ไม่มีความหมาย จนสามารถพูดได้หลายพยางค์และมีความหมายมากขึ้น และพัฒนาที่จะรู้ถึงรูปประโยค ประธาน (subject) กริยา (Verb) คำคุณศัพท์ (adjective) คำบุรพบท (Preposition) ทราบความหมายของ สี จำนวนนับ ของคำต่างๆ รวมถึงประโยชน์ของสิ่งของต่างๆ และการเปรียบเทียบ เป็นต้น
  3. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motors) ประกอบด้วย 10 items( คิดเป็น ร้อยละ 21 ของ Items ทั้งหมด ) กล้ามเนื้อมัดเล็กที่ใช้เมื่อแรกคลอดใหม่ๆ คือ กล้ามเนื้อตา ต่อมาคือฝ่ามือและใช้นิ้วช่วยในการหยิบของเล็กๆ
  4. ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross Motors) ประกอบด้วย 6 items ( คิดเป็นร้อยละ 13 ของ Items ทั้งหมด โดยเริ่มพัฒนาจากกล้ามเนื้อคอ การพลิกคว่ำพลิกหงาย นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด และสามารถยืนขาเดียวได้นานขึ้นๆ เมื่อจำนวนเดือนมากขึ้น เนื่องจากผลการสำรวจของเด็กไทย พบว่า เด็กไทยไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่อง Gross Motors แต่มีปัญหาในเรื่องภาษา จึงลดจำนวน Items ของ Gross Motors ลง เพื่อไม่ให้แบบประเมินมีจำนวน items มากเกินไป 
กรมสุขภาพจิต

เว็บใหม่ล่าสุด ของสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
แวะไปเยี่ยมชมกันได้ ที่นี่ค่ะ...
http://www.thaichilddevelopment.com/









เด็กพิเศษ
สถาบันราชานุกูล


คลังความรู้สถาบันราชานุกูล : ข้อมูลวิชาการ
http://www.rajanukul.com/main/index.php?mode=academic&submode=academic&group=1

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น