เว็บของคุณครู อาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษาปฐมวัย
2. Blog ของผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนา ปุญญฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร :
การประเมินตามสภาพจริงในระดับการศึกษาปฐมวัย
ที่อยู่ Blog ค่ะ
http://www.poonyarit.com/
องค์การมหาชน
สมศ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ดาวน์โหลด เอกสารการประเมินคุณภาพ (ระดับการศึกษาปฐมวัย)
http://www.onesqa.or.th/th/contentdownload/944/?inputFilter=&TextSearch=%E0%B8%9B%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2&Category=&gotoPage=1&PageSize=10
กระทรวงสาธารณสุข
(ศึกษาตัวอย่างการใช้แบบทดสอบมาตรฐาน)
http://www.thaichilddevelopment.com/
ปัจจุบันใช้
อนามัย 55 ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เฝ้าระวัง)
(อนามัย 49 ฉบับปรับปรุง)
บรรณาธิการ ศาสตราจารย์แพทย์หญิงศิริกุล อิศรานุรักษ์
นางสาวสุขจริง ว่องเดชากูล
จัดพิมพ์โดย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2555
Download ได้ที่ :
http://hp.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=318
แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55)
ปรับปรุงครั้งที่ 1
บรรณาธิการ ศาสตราจารย์เกียรติคุณแพทย์หญิงศิริกุล อิศรานุรักษ์
นางประภาภรณ์ จังพานิช
จัดพิมพ์โดย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
พิมพ์ครั้งที่ 1 มีนาคม 2556
http://hpc7.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/hpc7/ewt_dl_link.php?nid=1813
จาก "คำนำ"
ปี พ.ศ.2549 กรมอนามัยได้พัฒนาแบบประเมินพัฒนาการเบื้องต้นของเด็กปฐมวัย สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรียกว่า อนามัย 49 ซึ่งได้ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ต่อมาปี พ.ศ.2555 กรมอนามัยเห็นควรพัฒนาและปรับปรุงอนามัย 49 เดิม ให้มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน เรียกชื่อว่า อนามัย 55 (อนามัย 49 ฉบับปรับปรุง) โดยความร่วมมือจากอาจารย์มหาวิทยาลัยสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีและศูนย์อนามัย ในปี พ.ศ.2556 อนามัย 55 มีการเพิ่มช่วงอายุการทดสอบ เพื่อให้ครอบคลุมทุกกลุ่มอายุและปรับเปลี่ยนชื่อเป็น แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55)
...................
ข้อมูล เดิม
...................
กรมอนามัย
การวัดพัฒนาการเด็กด้วยแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก (อนามัย 49)
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/mch/anamai49.php
...."อนามัย 49" เป็นแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ที่สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัยจัดทำขึ้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย เพื่อเป็นการคัดกรองเบื้องต้นสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พ่อแม่ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นให้เป็นแบบประเมินพัฒนาการที่ใช้ง่าย สะดวก และศึกษาแนวทางในการทดสอบด้วยตนเองได้ โดยแบ่งเป็น 15 ช่วงอายุ ตั้งแต่ แรกเกิด จนถึง 72 เดือน หัวข้อในการประเมิน (Items) ที่ใช้ในการทดสอบ ประกอบด้วย 4 ด้านหลัก รวมทั้งหมด 48 Items ได้แก่
|
- ด้านสังคม (Social ) ประกอบด้วย 9 Items ( คิดเป็นร้อยละ 19 ของ Items ทั้งหมด ) เริ่มจากจ้องหน้า การยิ้ม การแสดงอารมณ์ การเล่น การแสดงความต้องการ รวมไปถึงการเล่น การรู้จักปฏิเสธ และการรอคอย
- ด้านภาษา (Language ) ประกอบด้วย 23 Items ( คิดเป็นร้อยละ 48 ของ Items ทั้งหมด ) โดยเริ่มจาก Body Language ที่ตอบสนองต่อการได้ยิน การพูดเป็นคำๆที่ไม่มีความหมาย จนสามารถพูดได้หลายพยางค์และมีความหมายมากขึ้น และพัฒนาที่จะรู้ถึงรูปประโยค ประธาน (subject) กริยา (Verb) คำคุณศัพท์ (adjective) คำบุรพบท (Preposition) ทราบความหมายของ สี จำนวนนับ ของคำต่างๆ รวมถึงประโยชน์ของสิ่งของต่างๆ และการเปรียบเทียบ เป็นต้น
- ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motors) ประกอบด้วย 10 items( คิดเป็น ร้อยละ 21 ของ Items ทั้งหมด ) กล้ามเนื้อมัดเล็กที่ใช้เมื่อแรกคลอดใหม่ๆ คือ กล้ามเนื้อตา ต่อมาคือฝ่ามือและใช้นิ้วช่วยในการหยิบของเล็กๆ
- ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross Motors) ประกอบด้วย 6 items ( คิดเป็นร้อยละ 13 ของ Items ทั้งหมด โดยเริ่มพัฒนาจากกล้ามเนื้อคอ การพลิกคว่ำพลิกหงาย นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด และสามารถยืนขาเดียวได้นานขึ้นๆ เมื่อจำนวนเดือนมากขึ้น เนื่องจากผลการสำรวจของเด็กไทย พบว่า เด็กไทยไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่อง Gross Motors แต่มีปัญหาในเรื่องภาษา จึงลดจำนวน Items ของ Gross Motors ลง เพื่อไม่ให้แบบประเมินมีจำนวน items มากเกินไป
|
กรมสุขภาพจิต
เว็บใหม่ล่าสุด ของสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
คลังความรู้สถาบันราชานุกูล : ข้อมูลวิชาการ
http://www.rajanukul.com/main/index.php?mode=academic&submode=academic&group=1